

การไม่จัดทำบัญชีหรือจัดทำบัญชีไม่ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด อาจส่งผลให้ธุรกิจต้องเผชิญกับบทลงโทษทางกฎหมาย ดังนี้:
การจัดตั้งบริษัทในครั้งแรก ทุกบริษัทจะต้องระบุวัตถุประสงค์ในการทำธุรกิจว่าทำธุรกิจเกี่ยวกับอะไรบ้าง แต่สามารถจดเพิ่มวัตถุประสงค์หลังจากจัดตั้งเสร็จได้ ซึ่งวัตถุประสงค์จะมีผลต่อการทำบัญชีในภายหลัง จึงควรระบุวัตถุประสงค์ให้ตรงกับธุรกิจที่ทำจริง จดทะเบียนเพิ่มวัตถุประสงค์ หลังจากประกอบกิจการมาสักระยะหนึ่งแล้วต้องการขยายกิจการหรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจ เพิ่มเติมจากวัตถุประสงค์ที่เคยแจ้งกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า จำเป็นต้องจดทะเบียนเพิ่มวัตถุประสงค์ เปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ หรือแก้ไขวัตถุประสงค์ กับทางกรมพัฒนาธุรกิจการค้า แต่ต้องจัดประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อให้มีมติแก้ไขหนังสือบริคณห์สนธิข้อที่ 3 (วัตถุประสงค์) ขั้นตอนการจดเพิ่มวัตถุประสงค์ สนใจ แก้ไขมูลค่าหุ้น เอกสารที่ใช้จดทะเบียนเพิ่มวัตถุประสงค์ รับจดเพิ่มวัตถุประสงค์
ใกล้สิ้นปีเป็นช่วงเวลาที่สำคัญสำหรับธุรกิจในการจัดการเรื่องบัญชีเพื่อสรุปผลการดำเนินงานและเตรียมพร้อมสำหรับการวางแผนในปีถัดไป ขั้นตอนหลักๆ ที่กิจการต้องดำเนินการเกี่ยวกับบัญชีในช่วงสิ้นปีมีดังนี้ :
“เงินเพิ่ม” หมายถึง ค่าปรับหรือค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้น เนื่องจากการไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทางภาษี เช่น การยื่นแบบภาษีล่าช้า การชำระภาษีไม่ครบถ้วน หรือการไม่ชำระภาษีภายในระยะเวลาที่กำหนดในอัตราที่ 1.5% ต่อเดือน โดยคำนวณจากวันที่ต้องชำระภาษีจนถึงวันที่ชำระภาษีครบถ้วน
การทำธุรกิจจำเป็นต้องมีการวางแผนและการจัดการที่ดี แต่บ่อยครั้งผู้ประกอบการมักมองข้ามบางเรื่องที่สำคัญ ซึ่งอาจกลายเป็นปัญหาใหญ่ในอนาคต มาดูกันว่ามีประเด็นอะไรบ้าง
การตรวจสอบกระแสเงินสดก่อนที่กิจการจะประสบปัญหาขาดสภาพคล่องเป็นสิ่งสำคัญในการรักษาเสถียรภาพทางการเงินของบริษัท การทำอย่างเป็นระบบและมีวินัยจะช่วยให้คุณสามารถป้องกันปัญหาทางการเงินที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ มาดูวิธีการตรวจสอบและจัดการกระแสเงินสดอย่างมีประสิทธิภาพ 🌟🚀
ปัจจุบันผู้ประกอบการในประเทศไทยมักใช้บริการจากต่างประเทศมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น การซื้อโฆษณาออนไลน์ การใช้ซอฟต์แวร์ หรือการจ้างบริการต่างๆ จากผู้ให้บริการที่ไม่มีสถานประกอบการในประเทศไทย
อย่างไรก็ตาม การรับบริการจากต่างประเทศยังต้องปฏิบัติตามกฎหมายด้านภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) โดยมีรายละเอียดและข้อกำหนดที่ผู้ประกอบการควรทราบดังนี้ :
การลดหย่อนภาษีแต่ละประเภท เพื่อช่วยให้ท่านสามารถวางแผนการเงินได้ดีขึ้นและช่วยลดภาระทางภาษีที่ต้องจ่ายในปี 2567
จุดTAX POINT ธุรกิจซื้อมาขายไปและธุรกิจบริการ จุดเกิดภาษี (Tax Point) หมายถึง จุดที่กิจการถูกกำหนดว่ามีภาระภาษีเกิดขึ้นแล้ว จะมีหน้าที่ในการเรียกเก็บ VAT จากผู้ซื้อหรือผู้รับบริการ และจุดเกิดภาษี (Tax Point) ของแต่ละประเภทธุรกิจมีความแตกต่างกันตามลักษณะการดำเนินงานและประเภทของธุรกรรม ต่อไปนี้คือการจำแนกจุดเกิดภาษีสำหรับธุรกิจซื้อมา-ขายไป, ธุรกิจบริการ 1. ธุรกิจซื้อมาขายไป (Trading
Line ID : @greenprokspacc
Tel : 085-067-4884
Line ID : @greenproksp
Tel : 094-864-9799